วันพุธที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2557

สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ


สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ

1.      ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด



2.      รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง



3.      ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังขับถ่าย



4.      กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สีฉูดฉาด



5.      งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนันและการสำส่อนทางเพศ



6.      สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น



7.      ป้องกันอุบัติเหตุด้วยการไม่ประมาท



8.      ออกกำลังกายสม่ำเสมอและตรวจสุขภาพประจำปี



9.      ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ



10. มีสำนึกต่อส่วนรวมร่วมสร้างสังคม


 

 

วันพุธที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

ตัวอย่างการทำ สมุดบันทึกพัฒนาการด้านสุขภาพ และสมรรถภาพทางกาย

รูปภาพ1                                                                                                                                                                               

 




สมุดบันทึกพัฒนาการด้านสุขภาพ และสมรรถภาพทางกาย

ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น  
โรงเรียนโคกสลุงวิทยา จังหวัดลพบุรี

ของ

กล่องข้อความ: ชื่อ ........…………………………………………….นามสกุล ……………………………………………

เลขประจำตัวประชาชน ...........................................เลขประจำตัวนักเรียน.............................

           

                        ชั้น  ม. …1…/ ……….      เลขที่ ……………………….ปีการศึกษา ……...……
คุณครูที่ปรึกษา 1………………………………………..2………………………………………
                    ชั้น  ม. …2…/ ……….      เลขที่ .………………………ปีการศึกษา ……..……
คุณครูที่ปรึกษา 1………………………………………..2………………………………………   

                    ชั้น  ม. …3…/ ……….      เลขที่ ……………………….ปีการศึกษา ……………

                    คุณครูที่ปรึกษา 1………………………………………..2………………………………………


  งานส่งเสริมสุขภาพ  กลุ่มบริหารงานทั่วไป
และกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาโรงเรียนโคกสลุงวิทยา    สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต  5
     หน้า 1
ข้อมูลส่วนตัวนักเรียน

ก.       ข้อมูลด้านครอบครัว

ชื่อ บิดา ……………………………………………………..   อายุ …………. ปี   อาชีพ ……………………………
ชื่อ มารดา  ………………………………………………….   อายุ …………. ปี   อาชีพ ……………………………
เกิดวันที่ ……….. เดือน …………………………   .. ……………   อายุ ……..ปี   ภูมิลำเนา  บ้านเลขที่ ……….
หมู่ที่ ……...  ตำบล ………………………..อำเภอ …………………………จังหวัด ………………………………. 
หมายเลขโทรศัพท์ …………………     มีพี่น้องทั้งหมด  …………  คน  นักเรียนเป็นคนที่ …………..
              .  ข้อมูลด้าน สุขภาพ
1. กรุ๊ปเลือด ………………     2. โรคประจำตัว ……………………………  (  เช่น โรคหัวใจ, หอบ หืด , ความดัน  เป็นต้น )
3. อัตราการเต้นของชีพจร  ………../ นาที     ( ค่าเฉลี่ย    ชาย 70 – 75 ครั้ง/นาที  , หญิง 74 – 78 ครั้ง/นาที )
     โดยเฉลี่ยนักเรียนจะมีอัตราการเต้นของหัวใจ ประมาณ 85 – 90 ครั้ง / นาที
4. อัตราการหายใจ             ……….../ นาที    ( ค่าเฉลี่ย      ชาย 14 – 16 ครั้ง / นาที  , หญิง 20 – 22 ครั้ง / นาที )
5. โรค  ที่นักเรียนเคยเป็น  ( ที่รุนแรง หรือนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล )
   5.1  โรค ……………………… ปี พ.. ……………5.2  โรค ……………………………ปี พ.. …………………….
   5.3  โรค ……………………… ปี พ.. ……………5.4  โรค ……………………………ปี พ.. …………………….
6.  อุบัติเหตุ   ที่นักเรียนเคยได้รับ   ( ที่รุนแรง หรือนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล )
   6.1  …………………………… ปี พ..  ……………6.2  …………………………………ปี พ.. …………………..
7. ยาที่แพ้    ชื่อยา …………………………….  เคยใช้รักษาโรค …………………………….(ถ้าตอบไม่ได้ไม่ต้องระบุ )
                 ข้อมูลด้านพฤติกรรม และความชอบ
1.   ประเภทกีฬาที่ชอบดูจากรายการแข่งขันทางโทรทัศน์      1. ………………….…………2  ………………………
2.             ประเภทกีฬาที่ชอบเล่น 1. ………………………………2………………………………3………………………
3.             วิชาพละที่นักเรียนชอบ (ระบุชื่อ)     1…………………………..2…………………………3………………….……
                4.    วิชาพละที่นักเรียนไม่ชอบ (ระบุชื่อ)1………………………….2…………………………3……………………….
4.             ชื่อนักกีฬาคนโปรดของนักเรียน ที่เป็นคนไทย      1.ชื่อ ………………………………  เล่นกีฬาประเภท ……………
                                                                                                    2.ชื่อ ……………………………… เล่นกีฬาประเภท ……………
5.             ชื่อนักกีฬาคนโปรดของนักเรียน  ที่เป็นคนต่างชาติ  1.ชื่อ …………………………… เล่นกีฬาประเภท …………….
                                                                                         2.ชื่อ …………………………… เล่นกีฬาประเภท …………….
6.   นักเรียนคิดว่ามีความสามารถในกีฬาประเภทใดมากที่สุด    ( ตอบได้มากกว่า  1 ข้อ )           
       1………………………………………2…………………………………………..3………………………………...
7.   นักเรียนเคยเป็นตัวแทนของโรงเรียน ( ระดับประถม หรือ มัธยม  ก็ได้
     1.  ..………………………………เล่นกีฬาประเภท ……………………   รางวัลที่ได้รับ…………………………
     2.  ..………………………………เล่นกีฬาประเภท  …………………..    รางวัลที่ได้รับ…………………………
     3. ..……………………………… เล่นกีฬาประเภท  …………………..    รางวัลที่ได้รับ…………………………
****   บันทึกเมื่อ   วันที่ …….  เดือน ………………………………   ..   25……..

หน้า  2
กล่องข้อความ:  น้ำหนัก
    (ก.ก.)

      

ชั้น

ปีการศึกษา

ส่วนสูง
/ ซม.

น้ำหนัก
/ ..
ขนาดรูปร่าง

หมายเหตุ
อ้วน

เกินเกณฑ์
ปกติ
ผอม
ม. 1
25.….






เกินเกณฑ์ หมายถึง น.. ตัวเกินเกณฑ์
ม. 2
25.….






 ..ปกติ  10  %
ม. 3
 25…..






อ้วน  หมายถึง เกินเกณฑ์ปกติ  20  %
ม. 4
 25.….






อ้วนมาก -       เกินเกณฑ์ปกติ  30  %
ม. 5
 25…..






ผอม   หมายถึง น..ตัวน้อยกว่าเกณฑ์
ม. 6
 25…..






..ปกติ  20 %
            ให้นักเรียนดูตารางในหน้า  3 และ  แล้วเปรียบเทียบกับน้ำหนักตัวของนักเรียน แล้วทำเครื่องหมาย ในช่องขนาดรูปร่าง
หน้า  3

                                                                         ตารางเปรียบเทียบน้ำหนัก

นน.ปกติ
อ้วน
เกินเกณฑ์
ผอม

นน.ปกติ
อ้วน
เกินเกณฑ์
ผอม
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
34
36
37
38
39.5
14
42
43
44
46
47
48
49
50
52
52.5
54
55
56
58
59
60
61
62
32
33
34
35
36
37
38.5
40
40
41
43
44
45
46
47
48
49.5
51
52
53
54
55
56
57
26
27
28
29
30
31
31.5
32
33
34
35
36
37
38
39
39.5
40
41
42
43
44
45
46
47


       53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
      63.5
65
66
67
68
70
71
72
73
74
75
76.5
78
79
80
81.5
82
84
85
86
88
89
90
      58
59
60.5
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71.5
72.5
74
75
76
77
78
79
80
81
82
       48
49
49.5
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
60
61
62
63
64
65
66
67
68






หน้า  4

แบบทดสอบสมรรถภาพ


ที่

ชื่อแบบทดสอบ

ทดสอบสมรรถภาพ
..25...
.. 25…
.. 25…

หมายเหตุ
ใช้
ไม่ใช้
ใช้
ไม่ใช้
ใช้
ไม่ใช้
1
2
3
4

5
6
7

8

วิ่งเร็ว 50 เมตร
ยืนกระโดดไกล
ลุก นั่ง 30 วินาที
ก.      ดึงข้อ   (ชาย)
ข.      ห้อยตัว (หญิง)
วิ่งเก็บของ
นั่งงอตัว
วิ่งระยะไกล
(ชาย 1000 . หญิง 800 . )
แรงบีบมือ
ความเร็ว
พลัง
ความทนทานกล้ามเนื้อ
ความทนทานกล้ามเนื้อ
ความทนทานกล้ามเนื้อ
คล่องแคล่วว่องไว
ความอ่อนตัว
ความอดทนทั่วไป

ความแข็งแรงกล้ามเนื้อ






ให้ทำเครื่องหมาย
ในช่อง ใช้
หรือ ไม่ใช้
โดยครูเป็นผู้กำหนดให้ทดสอบ





 
 













หน้า  5
.   แบบบันทึกขนาดสัดส่วน

ปีการศึกษา

ชั้น

รายการที่วัด
ขนาดสัดส่วน/นิ้ว

ลงวันที่

หมายเหตุ
1
.. 25……

.  …/…..
รอบอก
รอบเอว
ตะโพก
………………………………………………………………………

…../……./….

2
.. 25……

.  …/…..
รอบอก
รอบเอว
ตะโพก
………………………………………………………………………

…./……/….

3
.. 25………


.  …/…..
รอบอก
รอบเอว
ตะโพก
………………………………………………………………………

…./……/….

4
.. 25………

.  …/…..
รอบอก
รอบเอว
ตะโพก
………………………………………………………………………

…./……/….

5
.. 25………

.  …/…..
รอบอก
รอบเอว
ตะโพก
………………………………………………………………………

…./……/….

6
.. 25………

.  …/…..
รอบอก
รอบเอว
ตะโพก
………………………………………………………………………

…./……/….


                      อัตราการเต้นของหัวใจ ( ชีพจรและอัตราการหายใจ
ปีการศึกษา

ชั้น
อัตราการเต้นของหัวใจ
ครั้ง  นาที
อัตราการหายใจ
ครั้ง  นาที

หมายเหตุ
ภาคเรียน 1
ภาคเรียน 2
ภาคเรียน  1
ภาคเรียน 2
  ปี   25…………
….../…….





  ปี   25…………
….../…….





  ปี   25…………
….../…….





  ปี   25…………
….../…….





  ปี   25.………..
….../…….





  ปี   25…………
….../…….





                 หมายเหตุ    1. อัตราการเต้นของชีพจร  ค่าเฉลี่ย    ชาย 70 – 75 ครั้ง/นาที  , หญิง 74 – 78 ครั้ง/นาที  (อายุ 20 ปี )
     โดยเฉลี่ยนักเรียนจะมีอัตราการเต้นของหัวใจ ประมาณ 85 – 90 ครั้ง / นาที
                                  2. อัตราการหายใจ    ค่าเฉลี่ย      ชาย 14 – 16 ครั้ง / นาที  , หญิง 20 – 22 ครั้ง / นาที

หน้า  6
แบบทดสอบสมรรถภาพ
            1. แบบทดสอบที่ วิ่งเร็ว  50 เมตร
                          วิธีการ    ให้ผู้ทดสอบยืนให้ปลายเท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้นเริ่ม  (ไม่ต้องย่อตัวลงนั่ง) เมื่อได้ยินสัญญาณให้ออกวิ่งเต็มที่จนผ่านเส้นชัย  ควรให้ประลอง 2 ครั้ง  เอาเวลาครั้งที่ดีที่สุดมาบันทึก
                               
            2. เกณฑ์มาตรฐาน


อายุ
เพศ
เกณฑ์มาตรฐาน

หมายเหตุ
ชาย
หญิง
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
11
12
13
14
15
16
17
18








หมายเหตุ   ถ้าทำเวลาได้น้อยกว่าเกณฑ์ที่ให้ไว้ถือว่า ดี ถ้าได้มากกว่าเกณฑ์นี้ ให้ถือว่า ต่ำ

           3.  การประเมินผล
ให้นักเรียนทดสอบและเติมในช่องที่กำหนด  พร้อมทำเครื่องหมาย  √  ในช่องผลการประเมิน


ชั้น

ปีการศึกษา
เวลาที่นักเรียนทดสอบได้/วินาที
ผลการประเมิน

ลงวันที่
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
ม. 1
25.….





…../………./….   
ม. 2
25.….





…../………./….
ม. 3
 25…..





…/………../….
ม. 4
 25.….





…../………./….
ม. 5
 25…..





…../………./….
ม. 6
 25…..





…../………./….






หน้า  7
1.  แบบทดสอบที่ 2   ยืนกระโดดไกล
    วิธีการ   ให้ผู้รับการทดสอบยืนปลายเท้าทั้งสองชิดเส้นเริ่ม  ซ้อมเหวี่ยงแขนทั้งสองไปข้างหน้าและข้างหลังพร้อมก้มตัว  เมื่อได้จังหวะให้เหวี่ยงแขนไปข้างหน้าอย่างแรง พร้อมกับกระโดดเท้าทั้งสองไปข้างหน้าให้ไกลที่สุด
                  2.   เกณฑ์มาตรฐาน


อายุ
เพศ
เกณฑ์มาตราฐาน

หมายเหตุ
ชาย
หญิง
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
11
12
13
14
15
16
17
18








หมายเหตุ   ถ้าทำระยะได้มากกว่าเกณฑ์ที่ให้ไว้ถือว่า ดี ถ้าได้น้อยกว่าเกณฑ์นี้ ให้ถือว่า ต่ำ


3.   การประเมินผล


ชั้น

ภาคเรียน
ระยะที่นักเรียนทดสอบได้/ ซม.
ผลการประเมิน

ลงวันที่
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
ม. 1
25…..





…../………./….
ม. 2
25…..





…../………./….
ม. 3
 25…..





…../………./….
ม. 4
 25…..





…../………./….
ม. 5
 25.….





…../………./….
ม. 6
 25…..





…../………./….




หน้า  8
1.    แบบทดสอบที่ 3   ลุก-นั่งใน 30 วินาที
วิธีการ   ให้ผู้รับการทดสอบจับกันเป็นคู่  คนแรกนอนหงายบนเบาะเข่างอตั้งเป็นมุมฉาก  ปลายเท้าแยกห่างจากกันประมาณ  30 ซมประสานนิ้วมือรองที่ท้ายทอยไว้  ผู้ทดสอบคนที่ 2 นั่งคุกเข่าที่ปลายเท้าของคนแรก โดยหันหน้าเข้าหากัน  มือทั้งสองกำและกดข้อเท้าของคนแรก (ผู้รับการทดสอบ)ไว้ให้ส้นเท้าติดพื้น   เมื่อยินสัญญาณ  ให้ผู้รับการทดสอบลุกขึ้นนั่งและก้มศีรษะลงไปที่ระหว่างหัวเข่าทั้งสองของตน แล้วกลับไปนอนใหม่ในท่าเดิม  ทำเช่นนี้ติดต่อกัน  30  วินาที  นับจำนวนให้ได้มากที่สุด
               2.   เกณฑ์มาตรฐาน


อายุ
เพศ
เกณฑ์มาตราฐาน

หมายเหตุ
ชาย
หญิง
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
11
12
13
14
15
16
17
18








หมายเหตุ   ถ้าทำจำนวนได้มากกว่าเกณฑ์ที่ให้ไว้ถือว่า ดี ถ้าได้น้อยกว่าเกณฑ์นี้ ให้ถือว่า ต่ำ

3.  การประเมินผล


ชั้น

ภาคเรียน
จำนวนครั้งที่ นร.
     ทดสอบได้
ผลการประเมิน

ลงวันที่
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
ม. 1
25…..





…../………./….
ม. 2
25.….





…../………./….
ม. 3
 25…..





…../………./….
ม. 4
 25…..





…../………./….
ม. 5
 25…..





…../………./….
ม. 6
 25..





…../………./….


หน้า 9
1.    แบบทดสอบที่ 4    ดึงข้อ  (ชาย ) ….ครั้ง   ,งอแขนห้อย ( หญิง ) ……วินาที
                          วิธีการ          ดึงข้อ ( ชายให้ผู้รับการทดสอบยืนอยู่ใต้ราวเดี่ยว โดยยืนบนบนเก้าอี้  จับราวในท่าคว่ำมือ  ห่างกันหนึ่งช่วงไหล่  เมื่อได้สัญญาณให้เอาเก้าอี้ออก  ให้ผู้รับการทดสอบปล่อยตัวลงมาจนแขน และลำตัวเหยียดตรงเป็นท่าตั้งต้น  แล้วงอแขนดึงตัวขึ้นไป ให้คางอยู่เหนือราวที่มือจับ  นับจำนวนให้ได้มากที่สุด  ถ้าหยุดพักนานกว่า 3-4 วินาที  หรือไม่สามารถดึงขึ้นไปได้ให้ยุติการทดสอบ
                                               งอแขนห้อยตัว  ( หญิง )              ให้ผู้ทดสอบยืนบนเก้าอี้ใต้ราวเดี่ยว คางจะอยู่เหนือราวเล็กน้อย   ให้จับราวในท่าคว่ำมือ  เมื่อได้สัญญาณเริ่ม  ให้เอาเก้าอี้ออก  ผู้รับการทดสอบต้องเกร็งข้อแขนและดึงตัวไว้ในท่าเดิมให้นานที่สุด   ถ้าคางต่ำลงถึงราวให้ยุติการทดสอบ
2.     เกณฑ์มาตรฐาน


อายุ
เพศ
เกณฑ์มาตราฐาน

หมายเหตุ
ชาย/ …ครั้ง
หญิง/…วินาที
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
11
12
13
14
15
16
17
18








หมายเหตุ   ถ้าทำจำนวนได้มากกว่าเกณฑ์ที่ให้ไว้ถือว่า ดี ถ้าได้น้อยกว่าเกณฑ์นี้ ให้ถือว่า ต่ำ

3.  การประเมินผล

ชั้น

ภาคเรียน
จำนวนครั้ง/เวลา
    ที่ทดสอบได้
ผลการประเมิน

ลงวันที่
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
ม. 1
25…..





…../………./….
ม. 2
25.….





…../………./….
ม. 3
 25…..





…../………./….
ม. 4
 25…..





…../………./….
ม. 5
 25…..





…../………./….
ม. 6
 25..





…../………./….
หน้า 10
1. แบบทดสอบที่ วิ่งเก็บของ
          วิธีการ    ให้ผู้ทดสอบยืนอยู่ที่เส้น ก. หันหน้าไปทางเส้น ข. ซึ่งอยู่ห่างกัน 10 . เท้าทั้งสองอยู่ด้านหลังเส้น ก. ในท่าเตรียม  เมื่อได้ยินสัญญาณให้วิ่งไปหยิบไม้ 1 อันที่อยู่ด้านหลังเส้น ข. แล้วกลับตัววิ่งมาใส่ไว้ในวงกลมหลังเส้น กโดยที่ตัวของผู้ทดสอบต้องเลยเส้น ก. ออกมาทั้งหมดก่อน  แล้ววิ่งกลับไปหยิบไม้อันที่ เอามาใส่วงกลม   ผู้จับเวลาจะหยุดเวลาเมื่อ

              ไม้อันที่ ถูกวางลงในวงกลมแล้ว                            
            2. เกณฑ์มาตรฐาน

อายุ
เพศ
เกณฑ์มาตราฐาน

หมายเหตุ
ชาย
หญิง
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
11
12
13
14
15
16
17
18


















หมายเหตุ   ถ้าทำเวลาได้น้อยกว่าเกณฑ์ที่ให้ไว้ถือว่า ดี ถ้าได้มากกว่าเกณฑ์นี้ ให้ถือว่า ต่ำ
3.  การประเมินผล
ให้นักเรียนทดสอบและเติมในช่องที่กำหนด  พร้อมทำเครื่องหมาย  √  ในช่องผลการประเมิน

ชั้น

ภาคเรียน
เวลาที่นักเรียนทดสอบได้/วินาที
ผลการประเมิน

ลงวันที่
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
ม. 1
25…..





…../………./….   
ม. 2
25.….





…../………./….
ม. 3
 25…..





…/………../….
ม. 4
 25…..





…../………./….
ม. 5
 25…..





…../………./….
ม. 6
 25..





…../………./….

หน้า 11
1.    แบบทดสอบที่ 6    งอตัวข้างหน้า
                          วิธีการ          ให้ผู้รับการทดสอบนั่งเหยียดขาตรง  เท้าทั้งสองวางบนพื้นและชิดกัน  ฝ่าเท้าจรดแกนกลางของที่ตั้งไม้วัด  เหยียดแขนตรงขนานกับพื้นแล้วค่อย ๆ ก้มตัวไปข้างหน้า ให้มืออยู่เหนือระดับไม้วัด  จนไม่สามารถก้มตัวได้ต่อไป  วัดระยะจากเส้นดิ่งตรงปลายเท้ากับปลายมือ  ห้ามโยกตัวหรืองอตัวอย่างแรง ๆ

2.     เกณฑ์มาตรฐาน


อายุ
เพศ
เกณฑ์มาตราฐาน

หมายเหตุ
ชาย/ ซม
หญิง/ ซม…..
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
11
12
13
14
15
16
17
18








หมายเหตุ   ถ้าทำจำนวนได้มากกว่าเกณฑ์ที่ให้ไว้ถือว่า ดี ถ้าได้น้อยกว่าเกณฑ์นี้ ให้ถือว่า ต่ำ

   3.  การประเมินผล


ชั้น

ภาคเรียน
ระยะทาง/ ซม.
    ที่ทดสอบได้
ผลการประเมิน

ลงวันที่
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
ม. 1
25…..





…../………./….
ม. 2
25.….





…../………./….
ม. 3
 25…..





…../………./….
ม. 4
 25…..





…../………./….
ม. 5
 25…..





…../………./….
ม. 6
 25..





…../………./….


หน้า 12
1.           แบบทดสอบที่ วิ่งระยะไกล   (1000 .-ชาย , 800 . – หญิง )
              วิธีการ    ให้ผู้ทดสอบยืนชิดเส้นเริ่ม   เมื่อยินสัญญาณ  ไปให้ออกวิ่งไปตามเส้นทางที่กำหนด พยายามใช้เวลาให้น้อยที่สุด  เมื่อเข้าเส้นชัย
                                2. เกณฑ์มาตรฐาน


อายุ
เพศ
เกณฑ์มาตรฐาน

หมายเหตุ
ชาย/100 .
หญิง/800 .
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
11
12
13
14
15
16
17
18






.-วิ่ง1000.
.-วิ่ง800.


หมายเหตุ   ถ้าทำเวลาได้น้อยกว่าเกณฑ์ที่ให้ไว้ถือว่า ดี ถ้าได้มากกว่าเกณฑ์นี้ ให้ถือว่า ต่ำ

3.  การประเมินผล
ให้นักเรียนทดสอบและเติมในช่องที่กำหนด  พร้อมทำเครื่องหมาย  √  ในช่องผลการประเมิน


ชั้น

ภาคเรียน
เวลาที่นักเรียนทดสอบได้/ นาที
ผลการประเมิน

ลงวันที่
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
ม. 1
25…..





…../………./….   
ม. 2
25.….





…../………./….
ม. 3
 25…..





…/………../….
ม. 4
 25…..





…../………./….
ม. 5
 25…..





…../………./….
ม. 6
 25..





…../………./….



หน้า 13
1.    แบบทดสอบที่   8    แรงบีบมือ
วิธีการ          ให้ผู้รับการทดสอบจับเครื่องวัดด้วยมือที่ถนัดให้เหมาะมือที่สุด  ยืนตรงปล่อยแขนข้างลำตัว  ให้แขนออกห่างลำตัวเล็กน้อย  เมื่อได้จังหวะให้กำมือบีบเครื่องวัดจนสุดแรง

2.     เกณฑ์มาตรฐาน


อายุ
เพศ
เกณฑ์มาตรฐาน

หมายเหตุ
ชาย/ …...
หญิง/  …..
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
11
12
13
14
15
16
17
18








หมายเหตุ   ถ้าทำได้มากกว่าเกณฑ์ที่ให้ไว้ถือว่า ดี ถ้าได้น้อยกว่าเกณฑ์นี้ ให้ถือว่า ต่ำ

3.         การประเมินผล


ชั้น

ภาคเรียน

แรง  ..
ผลการประเมิน

ลงวันที่
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
ม. 1
25…..





…../………./….
ม. 2
25.….





…../………./….
ม. 3
 25…..





…../………./….
ม. 4
 25…..





…../………./….
ม. 5
 25…..





…../………./….
ม. 6
 25..





…../………./….



หน้า 14
สรุปแบบทดสอบสมรรถภาพ


                ชื่อ ……………………………………………………..  ชั้น ... ……../…….  เลขที่ ……….
               สรุป   ผลการทดสอบสมรรถภาพ
               


ที่


ชื่อแบบทดสอบ
ระดับชั้นมัธยมศึกษา
สรุปผลการประเมิน

ม.1

ม.2

ม.3

ม.4

ม.5

ม.6

ดีมาก

ดี
ปานกลาง
ปรับปรุง
1
2
3
4

5
6
7


8

วิ่งเร็ว 50 เมตร
ยืนกระโดดไกล
ลุก นั่ง 30 วินาที
ดึงข้อ (ชาย)
คางอยู่เหนือราว (หญิง)
วิ่งเก็บของ
นั่งงอตัว
วิ่งระยะไกล
(ชาย 1000 .
หญิง 800 . )
แรงบีบมือ











                                หมายเหตุ   1.     ให้นักเรียนใส่ผลการประเมิน  ทั้ง  ปีการศึกษา   ในแต่ละแบบทดสอบสมรรถภาพ  โดยใส่คำว่า
                                                                ดีมาก   , ดี  ปานกลาง  หรือ  ปรับปรุง     ในแบบการประเมินที่ตนเองทดสอบได้
                                                     2.     ในช่อง   สรุปผลการประเมิน     ให้นักเรียนพิจารณา      จากผลการประเมินของตนเองทั้ง  6 ภาค                             
                                                      เรียน     แล้วใส่ เครื่องหมาย        Ö      ในช่อง    ดีมาก ดี  ปานกลาง  ,หรือ  ปรับปรุง   ตาม
                                                                ผลค่าเฉลี่ยที่ตนเองทำการประเมินได้
                               
                                                                เอกสารอ้างอิง
                                จรวยพร    ธรณินทร์มาสนุกกับวิทยาศาสตร์การกีฬากรุงเทพ ฯ; ศูนย์พัฒนาหนังสือกรมวิชาการ, 2538
                                จุไรรัตน์   อุดมวิโรจน์สิน  โครงการอบรมวิทยาศาสตร์การกีฬาขั้นพื้นฐานเขตุการศึกษา 5 ราชบุรี: หน่วยศึกษา-
                                นิเทศ  กรมพลศึกษา  เขตการศึกษา 5,  2536
                              

คำนำ

สมุดบันทึกพัฒนาการด้านสุขภาพและสมรรถภาพทางกายของนักเรียนเล่มนี้
งานส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มบริหารงานทั่วไป และกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
โรงเรียนโคกสลุงวิทยา ได้จัดทำขึ้น  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบันทึกการพัฒนาด้านสุขภาพ
และสมรรถภาพทางกายของนักเรียน  ซึ่งนักเรียนจะได้ใช้เป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพ
และเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย  จากการที่ได้ประเมินตนเองแล้ว คณะครูและโรงเรียน
จะได้ใช้เพื่อแก้ไขปัญหา ด้านสุขภาพและสมรรถภาพของนักเรียนบางคนที่มีข้อบกพร่อง
หรือมีความผิดปกติทางร่างกาย  
งานส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มบริหารงานทั่วไป และกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
โรงเรียนโคกสลุงวิทยา หวังว่าสมุดบันทึกพัฒนาการด้านสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย
เล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่นักเรียนเป็นอย่างดี เพื่อให้นักเรียนเป็นผู้มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์
แข็งแรงต่อไป

                                                                                                                                                                               





งานส่งเสริมสุขภาพ  กลุ่มบริหารงานทั่วไป
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 
                                                                                            โรงเรียนโคกสลุงวิทยา อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี
                                                                                                 
 











สารบัญ
           
                                                                                                                                                                        หน้า
ข้อมูลส่วนตัวนักเรียน                                                                                                               1
- ข้อมูลด้านครอบครัว                                                                                                                 1
- ข้อมูลด้านสุขภาพ                                                                                                                     1
- ข้อมูลด้านพฤติกรรมและความชอบ                                                                                         1
- แบบบันทึกขนาดสัดส่วน                                                                                                          2
- อัตราการเต้นของหัวใจ                                                                                                             2
ตารางกราฟบันทึกน้ำหนัก                                                                                                        3
ตารางแสดงน้ำหนักและส่วนสูงของเด็กไทยโดยเฉลี่ย                                                          4
ตารางเปรียบเทียบน้ำหนัก                                                                                                      5
แบบทดสอบสมรรถภาพ                                                                                                          6
- แบบทดสอบที่ 1 วิ่งเร็ว  50 เมตร                                                                                             7
- แบบทดสอบที่ 2 ยืนกระโดดไกล                                                                                              8
- แบบทดสอบที่ 3 ลุก-นั่ง ใน 30 วินาที                                                                                      9
- แบบทดสอบที่ 4 ดึงข้อ …,งอแขนห้อย …,                                                                             10
- แบบทดสอบที่ 5 วิ่งเก็บของ                                                                                                     11
- แบบทดสอบที่ 6 นั่งงอตัว                                                                                                         12
- แบบทดสอบที่ 7 วิ่งระยะไกล                                                                                                   13
- แบบทดสอบที่ 8 แรงบีบมือ                                                                                                      14
สรุปแบบทดสอบสมรรถภาพ                                                                                                  15                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        




                                                                                                                หน้า 16

บันทึกแก้ไขและติดตามสุขภาพของนักเรียน  เรื่อง

1. ข้อมูลส่วนตัว ……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.ตารางกราฟน้ำหนัก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.การทดสอบสมรรถภาพทางกาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
       
บันทึกอื่น ๆ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


ค่า  BMI   ( Body   Mass   Index )   หรือ ค่า ดัชนีมวลกาย
คือ วัดความอ้วน เพื่อประเมินหาไขมันส่วนเกินในร่างกาย เพื่อคำนวณความเสี่ยงในการเป็นโรค
การหาค่า  BMI    คือ  เอาน้ำหนักตัว  (..)  หารด้วยความสูง  (เมตร) ด้วยความสูงยกกำลังสอง  (เมตร )
แล้วเทียบกับค่า ดัชนีมวลกาย  (BMI )    มาตรฐาน     ดังนี้

        ค่า         BMI   =                      น้ำหนักตัว   (..)                .
                                  ความสูง (เมตร2´  ความสูง (เมตร2
กล่องข้อความ:     ภาวะความอ้วน

=
 
17.00 – 18.49
=
ค่อนข้างผอม



18.50 – 24.99
=
เหมาะสม



25.00 – 29.99
=
ท้วม



30.00 – 39.99
=
อ้วน



40.00   -  ขึ้นไป
=
อ้วนผิดปกติ

ตัวอย่าง   นาย ก. สูง  170  เซนติเมตร  (1.70 เมตรมีน้ำหนัก  70  กิโลกรัม   เขามีค่า BMI  เท่าใด
ตอบ          70 ¸ 2.89  =  24.22     ดูจากตารางค่า BMI   นาย ก.   มีรูปร่างเหมาะสม     แต่ค่อนข้างจะท้วม  เพราะค่าที่ออกมา
                    24.22   ซึ่งเกือบจะถึง 25.00     ซึ่งเป็นค่าภาวะของร่างกายที่จะออกท้วม